วันเสาร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2551

งานวิทยาศาสตร์

งานวิทยาศาสตร์

Authentication
Authentication เป็นระบบพิสูจน์ตัวตนด้วยวิธีโอเพนซอร์ส มีหน้าที่ตรวจสอบผู้ใช้ที่เข้ามาใช้ระบบ อินเตอร์เน็ตในเครือข่ายขององค์กร จะครอบคลุมทั้งในส่วนของเครือข่ายที่ใช้สายและเครือข่ายไร้สาย


ส่วนประกอบของระบบ
ส่วนติดต่อผู้ใช้เพื่อควบคุมการเข้าใช้บริการเริ่มต้นจากการที่ผู้ใบริการเชื่อมต่อเครือข่ายด้วยสายแลนหรือผ่านอุปกรณ์ไร้สาย ระบบจะกำหนดหมายเลขไอพีให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการ และเมื่อผู้ใช้เรียกใช้งานอินเตอร์เน็ตโดยใช้โปรแกรมค้นผ่าน (Web Brower) ระบบจะแสดงหน้าจอสำหรับล็อกอินเข้าใช้งาน จากนั้นผู้ให้บริการต้องป้อนชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านที่ได้จากผู้ใช้บริการก่อน ระบบจะทำการตรวจสอบว่าผู้ใช้บริการรายนั้นมีสิทธ์ในการเข้าใช้ระบบหรือไม่ หลังจากที่ระบบตรวจสอบพบว่าผู้ใช้มีสิทธิ์เข้าใช้ระบบแล้ว ระบบจะแสดงรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับสิทธิ์ในการเข้าใช้บริการ เช่น ชื่อผู้ใช้ และนามสกุล หมายเลขไอพีที่ได้รับ เวลาที่สามารถใช้งานได้ต่อครั้ง วันหมดอายุการใช้งาน เป็นต้น

ประโยชน์ของระบบ Authentication
1 . เป็นสูตรสำเร็จในการติดตั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่ายให้มีความมั่นคงปลอดภัยทางข้อมูลสารสนเทศโดยลดการซับซ้อนในการออกแบบและติดตั้งระบบเครือข่ายให้มีจำนวนน้อย
2. ระบุตัวตนผู้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง อีกทั้งผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตยังสามารถรับรู้นโยบาย(Policy) ที่ประกาศใช้เพื่อความถูกต้องและป้องกันภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
3. สามรถสืบคันผู้กระทำความผิด สถิติการใช้งานระบบสารสนเทศ ระบบอินเตอร์เน็ต และจัดเก็บบันทึกเป็นข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้อย่างสะดวก
4. ประเมินพฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตภายในองค์กร (Network Awareness) เพื่อจัดทำการประเมินพนักงานสำหรับงานทรัพยากรบุคคลได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อต่อเข้าด้วยกัน
โดยการใช้สื่อนำสัญญาณข้อมูล เช่น สายโทรศัพท์ สายเเลน อินฟราเรด บูลทูธ ดาวเทียม

การโมเด็มมีสองประเภท คือ ติดตั้งภายใน และ ภายนอก

เครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูงในโทรศัพท์ในญี่ปุ่นจะส่งสัญญาณใน ๓ แบบ
1.ในรูป รูปภาพ
2.เสียง
3.อินเตอร์เน็ต

Lan card = Elternal Card
Telephone Line -----> Digital
Gateway = Defaulf

การหา ID address128 64 32 16 8 4 2 1 จำและเอาไปแทนที่

0000 0000 = 0
1111 1111 = 255

x.x.x.x
0.255 . 0.255 . 0.255 . 0.255

วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

application software

ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software)
จะมีความเหมาะสมกับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมด้านการคำนวณราคาค่าน้ำของแต่ละบ้าน จะมีประโยชน์กับงานด้านการประปา หรือโปรแกรมสำหรับฝากถอนเงิน ก็จะมีประโยชน์กับองค์กรเกี่ยวกับการเงิน เช่น ธนาคาร
ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้านส่วนมากจะไม่มีการจำหน่ายอยู่ทั่วไป องค์กรที่ต้องการใช้งานมักจะต้องพัฒนาด้วยตนเอง หรือว่าจ้างบริษัทซอฟต์แวร์พัฒนาให้โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตามถึงแม้จะมีบริษัทซึ่งพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะด้านมาวางจำหน่ายก็มักจะมีราคาสูง รวมทั้งมีข้อเสนอในการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อให้เหมาะสมกับองค์กรต่าง ๆ ด้วย
2ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General purpose Software)
จะเป็นซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสำหรับงานทั่ว ๆ ไป สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานส่วนตัวได้อย่างหลากหลาย ทำให้เป็นซอฟต์แวร์ประเภทที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ซึ่งส่วนมากจะเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานอยู่ในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้
3ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet)
ธุรกิจในสมัยก่อนนั้นการทำงบประมาณ หรือการวางแผนต่าง ๆ ต้องใช้กระดาษบัญชีและเครื่องคิดเลขเท่านั้น สำหรับสมัยนี้ด้วยซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ใช้สามารถพิมพ์หัวข้อหรือชื่อของข้อมูล และตัวเลขข้อมูลต่าง ๆ เข้าในคอมพิวเตอร์ โดยที่ในคอมพิวเตอร์จะมีตารางที่เปรียบเสมือนกระดาษบัญชีขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถคำนวณได้ตามสูตรที่ผู้ใช้ทำการกำหนด โดยที่สูตรเหล่านั้นจะไม่ปรากฏในช่องของข้อมูลเลย ยิ่งไปกว่านั้นหากผู้ใช้เปลี่ยนตัวเลขหรือข้อมูลใด ๆ ก็ตาม จะเห็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกันในทันที ปัจจุบันมีผู้ใช้ประโยชน์ของตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์มากมาย ไม่เฉพาะแต่ในทางบัญชีเท่านั้น แต่ยังนิยมใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ บริหารการเงิน และอื่น ๆ อีกมาก
4ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing)
ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆ หนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ
5ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing)
ในสมัยก่อนการจัดทำหนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ นั้นต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ มากมายหลายขั้นตอนซึ่งรวมเรียกว่าการเรียงพิมพ์ โดยที่จะต้องมีผู้ตัดต่อรูปภาพที่ต้องการ วาดกรอบของภาพหรือกรอบหัวเรื่อง และเขียนข้อความ และนำข้อความ ภาพ และกรอบมาประกอบกันตามแบบที่ออกแบบไว้ การทำงานที่ยุ่งยากเหล่านี้นี่เองที่ทำให้เอกสารเหล่านั้นมีราคาแพง แต่ในปัจจุบันนี้ขอเพียงมีคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมการจัดพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ เท่านั้น ก็สามารถที่จะออกแบบงานหรือเอกสารให้เป็นที่น่าสนใจได้ โดยซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะจะมีความสามารถด้านการจัดการเอกสาร ความสามารถด้านการเรียงพิมพ์ รวมทั้งการจัดสีที่สูงกว่าซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ
6ซอฟต์แวร์นำเสนอ (Presentation Software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยอาจประกอบด้วยตัวอักษร รูปภาพ แผนผัง รายงาน ตลอดจนภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น นิยมใช้ในการเรียนการสอน หรือการประชุม เพื่อนำเสนอข้อมูลให้การบรรยายนั้นน่าสนใจยิ่งขึ้น
7ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software)
เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูล ส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น
8ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
โปรแกรมฐานข้อมูลเป็นโปรแกรมสำหรับสร้างแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เก็บไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยโปรแกรมจะมีเครื่องมือต่าง ๆ ในการอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการจัดการแฟ้มข้อมูล เช่น มีเครื่องมือสำหรับการเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ หรือสามารถเรียกแฟ้มข้อมูลนั้นขึ้นมาแสดงบนจอภาพโดยกำหนดเงื่อนไขให้เลือกข้อมูลมาแสดงเพียงบางส่วน เป็นต้น
9ซอฟต์แวร์สื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Software)
ถ้าผู้ใช้ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลออกไป สามารถทำได้โดยใช้ซอฟต์แวร์สำหรับติดต่อสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเทอร์มินัล (terminal) ที่สามารถติดต่อไปยังระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้หลายคนได้โดยใช้สายโทรศัพท์ในการโทรติดต่อ และเมื่อติดต่อได้แล้วก็จะสามารถใช้งานระบบต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องนั้นได้ เสมือนกับนั่งใช้เครื่องอยู่ข้าง ๆ เครื่องที่เราติดต่อเข้าไป การใช้งานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เช่น ร่วมคุยกับกลุ่มที่สนใจเรื่องเดียวกัน แลกเปลี่ยนจดหมายกับผู้อื่นในระบบหรือแม้กระทั่งจองตั๋วเครื่องบินและจองโรงแรมผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

10ซอฟต์แวร์ค้นหาข้อมูล (Resource Discovery Software)
หมายถึงซอฟต์แวร์ที่เป็นเครื่องมือสำหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการ จากแหล่งข้อมูลในที่ต่าง ๆ เนื่องจากปัจจุบันนี้ความนิยมในการใช้การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเตอร์เนต หรือเครือข่ายเชิงพาณิชย์อื่น ๆ ช่วยให้สามารถเรียกค้นข้อมูลที่ต้องการทราบได้จากทั่วโลก ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เช่น Archie , Gopher และ World Wide Web เป็นต้น

วันจันทร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Data Communication


  • การสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ คือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทอรนิกส์ ซึ่งเชื่อมต่อกันอยู่ด้วยสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง

Procedures


  • กระบวนการทำงาน หรือ Procedures หมายถึงขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะบางอย่างจากคอมพิวเตอร์

  • การปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ในส่วนต่างๆ มักมีขั้นตอนสลับซับซ้อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจนด้วย

ข้อมูลและสารสนเทศ DATA


Data/Information
คือทรัพยากรที่สำคัญของหน่วยงานมีหลายลักษณะ
-ข้อมูลตัวเลข นำไปคำนวณได้
-ข้อมูลข้อความ เช่น ชื่อ, ที่อยู่-ข้อมูลรูปภาพ เช่น ภาพบุคลากร
-ข้อมูลภาพลักษณ์ เช่น ข้อมูลภาพลักษณ์ เอกสารที่สะแกนเก็บไว้ใช้แสดงข้อมูล
ข้อมูล หรือ Data หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจริง
-สารสนเทศ หรือ Information หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลไปผ่าน กระบวนการหนึ่งก่อน


ข้อมูลที่ดี = ถูกต้อง + เป็นปัจจุบัน + สมบูรณ์

ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ Peopleware


  • คนที่ใช้ computer จะเรียกอีกชื่อว่า End User.

  • รวมทั้งบุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมด

  • โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ ช่างซ่อมฯลฯ

ชุดคำสั่ง โปรแกรม Softwaree


  • เป็นชุดคำสั่งที่จะสั่งงานให้ computer ทำงาน

ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ


-ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และอำนวยเครื่องมือสำหรับทำงานพื้นฐาน เช่น Dos,Windows Vista , Linux


-ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่างานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานทุก ๆ ด้านตามแต่ผู้ใช้ต้องการ จนสามารถกล่าวได้ว่าซอฟต์แวร์ประยุกต์ก็คือซอฟต์แวร์ที่ทำให้เกิดการใช้งานคอมพิวเตอร์กันอย่างกว้างขวาง และทำให้คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่

องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์






หน่วยประมวลผลกลาง Processor

หน่วยประมวลผลกลางหรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ซีพียู (CPU) เป็นหน่วยที่เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นหน่วยที่มีความซับซ้อนที่สุด ส่วนประกอบต่าง ๆในหน่วยประมวลผลกลางเป็นตัวกำหนดความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลางรุ่นใหม่ ๆ จะมีขนาดเล็กลงในขณะที่มีความเร้วเพิ่มขึ้น

หน่วยความจำหลัก Main Memory

เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ บางครั้งเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage)

หน่วยรับข้อมูล

ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้มากมาย

หน่วยแสดงผล

ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง

ก่อนที่จะศึกษาว่าคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลได้อย่างไร จะต้องทราบก่อนว่าสื่อสำหรับเก็บข้อมูลนั้นมีอะไรบ้าง เนื่องจากคอมพิวเตอร์แปลงคำสั่งและข้อมูลต่าง ๆ เก็บไว้ในรูปของเลขฐานสองคือ 0 และ 1 ทั้งสิ้น โดยที่ตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ จะถูกแทนด้วยกลุ่มของเลขฐานสอง และเนื่องจากแรมเป็นหน่วยความจำที่ไม่ได้เก็บข้อมูลอย่างถาวร ถ้าปิดเครื่องหรือไฟดับข้อมูลก็จะหายไป ดังนั้นถ้าผู้ใช้มีข้อมูลอยู่ในแรมก็จะต้องทำการจัดเก็บข้อมูล โดยย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำไปไว้ในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เนื่องจากสามารถเก็บข้อมูลได้อย่างถาวรไม่มีการเปลี่ยนแปลงนอกจากผู้ใช้เป็นผู้สั่ง รวมทั้งสามารถเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ได้และที่สำคัญหน่วยเก็บข้อมูลสำรองจะมีราคาถูกมากเมื่อเทียบกับหน่วยความจำหลัก คอมพิวเตอร์ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันจะมีหน่วยเก็บข้อมูลสำรองซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ๆ ได้ แต่ความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูลของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองจะต่ำกว่าแรมมาก ดังนั้นจึงควรทำงานให้เสร็จก่อนจึงย้ายข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง

Hardware(Inside)

อุปกรณคอมพิวเตอร์ Hardware


คือลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำคัญคือ
-หน่วยประมวลผลกลาง
-หน่วยความจำหลัก
-หน่วยรับข้อมูล
-หน่วยแสดงผล
-หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง

อุปกรณ์ที่อยู่ในเครื่อง




  • Mainboard (เมนบอร์ด)






  • CPU หน่วยประมวลผลกลาง








  • Ram


  • Harddisk




  • Floppy drive



  • CD Drive

ชนิดของเครื่องอ่าน

-CD ROM -CD Writer

-DVD ROM -CD COMBO -DVD Writer

-Blu-Ray



  • PCI CARD

-Sound Card


-VGA Card




  • Power supply แหล่งจ่ายกระแสไฟ

Hardware(Outside)

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก






  • ตัวเครื่อง(case)


1.ตัวเครื่องแบบ Desktop


2.ตัวเครื่องแบบ Tower








  • Monitor แบ่งเป็น2ชนิด


1.จอแบบ CRT
2.จอแบบ LCD























  • แป้นพิมพ์หรือคีร์บอร์ด(Keyboard)+เม้าท์(Mouse)


จะมีทั้งหัวต่อแบบ PS/2 และ USB







  • เครื่องพิมพ์(Printer)


เครื่องพิมพ์แบบ Laser
เครื่องพิมพ์แบบ Dot Matrix





  • UPS เครื่องสำรองไฟ








  • ลำโพง(Speaker)


องค์ประกอบคอมพิวเตอร์

ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ



1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

2.ซอฟต์แวร์ (Sofeware)

3.บุคลากร (Peopleware)

4.ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) และ

5.กระบวนการทำงาน (Procedure)

ความรู้เบื่องต้นคอมพิวเตอร์

การทำงานพื้นฐานคอมพิวเตอร์

เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทำงานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ





























1.รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น คีบอร์ด หรือ เมาส์


2.ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลกับข้อมูล เพื่อแปลงให้อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ


3.แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ


4.เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ในอนาคต